ความสะอาดของช้อน ส้อม ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเราและมักเกิดปัญหาขึ้นบ่อยมากที่สุด
ทั้งเรื่องของความสกปรก ความไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนในโรงอาหาร การล้างทำความสะอาดที่ไม่ถูกสุขอนามัย ก่อนที่เราจะพูดถึงในเรื่องของความสะอาด เรามารู้จักกันก่อนดีกว่าว่าช้อนส้อมคืออะไร และมีความหมายว่าอะไร
ส้อมคืออะไร?
ส้อม เป็นเครื่องครัว
ที่ประกอบไปด้วยด้ามจับและปลายแหลมหรือเงี่ยงหลายซี่ที่อีกด้าน โดนปกติมีประมาณ 2-4
ซี่. ส้อมเป็นอุปกรณ์ในการช่วยรับประทานอาหารที่พบเห็นได้ทั่วไปในประเทศตะวันตก
ขณะที่เอเชียตะวันออกจะใช้ตะเกียบเสียมากกว่า
ซึ่งปัจจุบันนี้เอเชียตะวันออกก็ใช้ส้อมอย่างแพร่หลายแล้วเช่นกัน
เครื่องใช้นี้มักทำมาจากโลหะใช้ในการตักอาหารเข้าปาก ซึ่งอาหารที่ถูกตักจะสามารถยกขึ้นได้ด้วยการใช้เงี่ยยงแทงเข้าไป หรือใช้ตักอาหารโดยให้อาหารอยู่ข้างบนเงี่ยงนั้นแล้วถือด้ามจับในแนวนอน ซึ่งการจะใช้ส้อมตักแบบนี้ได้มักเป็นส้อมที่มีลักษณะงุ้มขึ้นตรงปลาย นอกจากนี้ส้อมยังใช้ในการช่วยกลับอาหารขณะปรุงอาหาร หรือใช้ในการตัดอาหารด้วย
ปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า ช้อนกึ่งส้อม (spork) อันเป็นเครื่องใช้ในครัวที่มีลักษณะกึ่งช้อนกึ่งส้อม อันเป็นการพยายามออกแบบให้เป็นเครื่องใช้ในครัวเพียงชิ้นเดียวที่ใช้ในการรับประทานอาหารแต่ละมื้อ เพื่อลดความยุ่งยากในการมีเครื่องใช้ในครัวหลายชิ้นลง โดยเฉพาะมีด ด้านหลังของช้อนกึ่งส้อมออกแบบเป็นรูปทรงคล้ายช้อนซึ่งสามารถใช้ตักอาหารหรือแม้แต่ของเหลวได้ ขณะที่ตรงปลายมีเงี่ยงเล็กๆ คล้ายส้อมช่วยในการจิ้มอาหาร ทำให้สะดวกต่อการรับประทานอาหาร อุปกรณ์ชนิดนี้ได้รับความนิยมในการรับประทานอาหารจานด่วนและใช้ในกองทัพของชาวตะวันตกเป็นอย่างมาก
ในวัฒนธรรมไทย ไม่ปรากฏชัดการนำส้อมเข้ามาใช้ว่ามีมาแต่เมื่อใด แต่เนื่องจากมีการใช้ช้อนอย่างแพร่หลายในการตักข้าวอยู่แล้ว ส้อมจึงอยู่ในฐานะในอุปกรณ์ที่ช่วยในการรับประทานอาหารอันมีหน้าที่ช่วยเกลี่ยอาหารในจาน ช่วยตัดชิ้นเนื้อ และช่วยจิ้มอาหารเท่านั้น มิได้มีหน้าที่ตักเป็นหลักอย่างที่ชาวตะวันตกใช้แต่อย่างใด ส่วนช้อนกึ่งส้อมนั้นปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง แต่เนื่องจากชาวไทยมิได้ทานเนื้อเป็นหลัก และนิยมใช้ช้อนสั้นโลหะซึ่งสามารถตัดเนื้อได้อยู่แล้ว ช้อนกึ่งส้อมจึงไม่ได้รับความนิยมจากชาวไทยอย่างชาติตะวันตก
ช้อนคือ?
เครื่องใช้นี้มักทำมาจากโลหะใช้ในการตักอาหารเข้าปาก ซึ่งอาหารที่ถูกตักจะสามารถยกขึ้นได้ด้วยการใช้เงี่ยยงแทงเข้าไป หรือใช้ตักอาหารโดยให้อาหารอยู่ข้างบนเงี่ยงนั้นแล้วถือด้ามจับในแนวนอน ซึ่งการจะใช้ส้อมตักแบบนี้ได้มักเป็นส้อมที่มีลักษณะงุ้มขึ้นตรงปลาย นอกจากนี้ส้อมยังใช้ในการช่วยกลับอาหารขณะปรุงอาหาร หรือใช้ในการตัดอาหารด้วย
ปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า ช้อนกึ่งส้อม (spork) อันเป็นเครื่องใช้ในครัวที่มีลักษณะกึ่งช้อนกึ่งส้อม อันเป็นการพยายามออกแบบให้เป็นเครื่องใช้ในครัวเพียงชิ้นเดียวที่ใช้ในการรับประทานอาหารแต่ละมื้อ เพื่อลดความยุ่งยากในการมีเครื่องใช้ในครัวหลายชิ้นลง โดยเฉพาะมีด ด้านหลังของช้อนกึ่งส้อมออกแบบเป็นรูปทรงคล้ายช้อนซึ่งสามารถใช้ตักอาหารหรือแม้แต่ของเหลวได้ ขณะที่ตรงปลายมีเงี่ยงเล็กๆ คล้ายส้อมช่วยในการจิ้มอาหาร ทำให้สะดวกต่อการรับประทานอาหาร อุปกรณ์ชนิดนี้ได้รับความนิยมในการรับประทานอาหารจานด่วนและใช้ในกองทัพของชาวตะวันตกเป็นอย่างมาก
ในวัฒนธรรมไทย ไม่ปรากฏชัดการนำส้อมเข้ามาใช้ว่ามีมาแต่เมื่อใด แต่เนื่องจากมีการใช้ช้อนอย่างแพร่หลายในการตักข้าวอยู่แล้ว ส้อมจึงอยู่ในฐานะในอุปกรณ์ที่ช่วยในการรับประทานอาหารอันมีหน้าที่ช่วยเกลี่ยอาหารในจาน ช่วยตัดชิ้นเนื้อ และช่วยจิ้มอาหารเท่านั้น มิได้มีหน้าที่ตักเป็นหลักอย่างที่ชาวตะวันตกใช้แต่อย่างใด ส่วนช้อนกึ่งส้อมนั้นปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง แต่เนื่องจากชาวไทยมิได้ทานเนื้อเป็นหลัก และนิยมใช้ช้อนสั้นโลหะซึ่งสามารถตัดเนื้อได้อยู่แล้ว ช้อนกึ่งส้อมจึงไม่ได้รับความนิยมจากชาวไทยอย่างชาติตะวันตก
ช้อนคือ?
ช้อน เป็นเครื่องครัวที่มีลักษณะเป็นแอ่งตื้นและเล็กกว่าทัพพี
ตรงปลายมีที่จับ โดยทั่วไปใช้ในการตักอาหารเหลว
หรืออาหารกึ่งเหลว หรืออาหารแข็งที่ไม่อาจใช้กับส้อมได้อย่างสะดวก เช่น
ใช้ในการตักข้าวหรือธัญพืช
นอกจากนี้ ช้อนยังใช้ในการทำอาหารที่จะตวงวัดปริมาณส่วนผสมของอาหารที่จะใช้ด้วย
ช้อนอาจจะทำมาจากโลหะ ไม้ พลาสติก หิน หรือแม้แต่งาช้าง
ในวัฒนธรรมไทยแต่เดิมใช้มือในการเปิบอาหารรับประทาน ภายหลังมีการนำช้อนเข้ามาใช้ โดยปรากฏในรูปของช้อนสั้น ส่วนในปัจจุบันมักใช้ช้อนยาวคู่กับส้อมในการรับประทานอาหารโดยทั่วไป ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่ไม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดที่ใดในโลก แต่ไม่ปรากฏแน่ชัดว่ามีการนำช้อนคู่กับส้อมเมื่อใด
ในวัฒนธรรมไทยแต่เดิมใช้มือในการเปิบอาหารรับประทาน ภายหลังมีการนำช้อนเข้ามาใช้ โดยปรากฏในรูปของช้อนสั้น ส่วนในปัจจุบันมักใช้ช้อนยาวคู่กับส้อมในการรับประทานอาหารโดยทั่วไป ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่ไม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดที่ใดในโลก แต่ไม่ปรากฏแน่ชัดว่ามีการนำช้อนคู่กับส้อมเมื่อใด
ค่านิยมนำช้อน-ส้อม จุ่มนํ้า ในโรงเรียน ฆ่าเชื้อโรคได้จริงหรือ?
การเลือกสรรอุปกรณ์การกินที่เรารู้สึกว่าสะอาดปลอดภัยก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่
ผู้บริโภคทำอย่างสม่ำเสมอ ขอเปลี่ยนได้ก็ขอ เช็ดได้ก็เช็ด (แม้ว่าจะต้องใช้กระดาษทิชชู่สีชมพูก็ตาม)
และอีกอย่างหนึ่งที่ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมการกินของเราที่พบมากขึ้น
เรื่อยๆ โดยเฉพาะบริเวณศูนย์อาหารในศูนย์การค้า หรือโรงอาหารในสถาบันต่างๆ
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ คือหม้อหุงข้าวเปิดฝาบรรจุน้ำร้อนสำหรับให้ผู้บริโภคนำช้อนส้อมตะเกียบมาลวก
ฆ่าเชื้อโรค
กล่าว กันว่า
การลวกช้อนส้อมได้กลายมาเป็นที่นิยมในประเทศไทยหลังจากมาตรการควบคุมการ
ระบาดของโรคไวรัสตับอักเสบเอที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ซึ่งทำให้ศูนย์อาหารหลายแห่งนำไปใช้บ้างจนหม้อหุงข้าวลวกอุปกรณ์การกินแพร่
กระจายไปทั่วประเทศ
หลักการของการจุ่มลวกช้อนส้อมเหล่านี้ ก็มาจากการที่เราทราบกันว่า
น้ำร้อนสามารถฆ่าเชื้อโรคได้
เชื้อโรคที่น่ากลัวเหล่านั้น ก็คือพวกจุลินทรีย์
สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า พวกไวรัส
และแบคทีเรียก่อโรคต่างๆ ที่หากร่างกายได้รับเข้าไปแล้วนั้น
จะทำให้มีอาการเจ็บป่วยตั้งแต่เล็กน้อย ไปจนร้ายแรงถึงชีวิต
ไม่ว่าจะเป็นทำให้ผู้บริโภคท้องเสีย อาเจียน เป็นโรคต่างๆ ปวดศีรษะ
และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ นั่นก็คือสาเหตุที่ทำให้คนเราเกลียดชังเชื้อโรคกันมาก
และหวังว่าจะสามารถกำจัดออกไปจากอุปกรณ์ช้อนส้อมของเราได้ด้วยตนเอง
แต่ การทำลายเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ
ต้องการอุณหภูมิที่สูงกว่า98 องศาเซลเซียส และใช้เวลานานถึง 4 นาที
คำถามจึงมีอยู่ว่า ถ้าเช่นนั้น ลวกเพียงครู่เดียวแล้วได้อะไรขึ้นมา
การ แก้ปัญหาเบื้องต้นสำหรับผู้บริโภคอย่างเราๆ ก็คือ
ยืนจุ่มช้อนส้อมและจับเวลาให้ได้ 4 นาที
เพื่อให้ได้ช้อนส้อมที่สะอาดปราศจากเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ
แต่ปัญหาของน้ำร้อนในหม้อหุงข้าวตามศูนย์อาหารทั่วไปความจริงแล้วคือ
อุณหภูมิน้ำไม่สูงพอที่จะทำลายเชื้อโรคได้ นอกจากจะไม่ทำให้เชื้อโรคตาย
ยังทำให้เชื้อโรคเพิ่มจำนวนมหาศาลสะสมอยู่ในน้ำนั้นอีกด้วย
ด้วยความที่ไม่ได้มีการเปลี่ยนน้ำใหม่ทุกชั่วโมง
และที่สำคัญในการเอาตัวรอดของสิ่งมีชีวิตตัวอย่างเช่นแบคทีเรียบางพวก ซึ่งโดยปกติแล้วสามารถเจริญเติบโตได้ดีในช่วงอุณหภูมิหนึ่งๆ อย่าง
20-45 องศา
เซลเซียส หากเรานำไปจุ่มในน้ำร้อนที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 45
องศาเซลเซียส
แต่เป็นอุณหภูมิที่ยังไม่สามารถฆ่าแบคทีเรียเหล่านั้นให้ตายได้
ถือว่าเราได้สร้างสภาวะความเครียดต่อสิ่งแวดล้อมให้แก่แบคทีเรีย
เป็นสัญชาตญาณของสิ่งมีชีวิตในการดำรงเผ่าพันธุ์นั่นเองที่ทำให้แบคทีเรีย
เพิ่มจำนวนขึ้นอีกมากมายเพื่อให้รุ่นต่อไปอยู่รอดได้มากที่สุดเนื่องจากมัน
รู้สึกว่า วิกฤตของชีวิตได้มาถึงแล้ว
อุปกรณ์ในการทำความสะอาดช้อนส้อม
ตะกร้าสำหรับใส่ช้อน ส้อม หรือตะเกียบ |
ผ้าสะอาดสำหรับเช็ด |
น้ำยาล้างจาน |
ฟองน้ำ |
เครื่องล้างจานและช้อน |
แนะนำนวัตกรรมในการฆ่าเขื้อช้อนส้อมแทนการจุ้มช้อนในน้ำ. www.dkhthailand.com.
ReplyDelete